นายสัตวแพทย์ ดร.พีรุทย์ เชียรวิชัย
นายสัตวแพทย์ ดร.พีรุทย์ เชียรวิชัยผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวางแผนกลยุทธ์การสรรหาและการคัดเลือก

การทบทวนวรรณกรรมการใช้เทคโนโลยีมัลติโอมิกส์เพื่อศึกษากลไกลการก่อโรคพิษสุนัขบ้า

โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่ส่ผลกระทบต่อมนุษย์ตั้งแต่อดีตและยังไม่มีวิธีการรักษาในปัจจุบัน โรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศกำลังพัฒนาหลายประเทศ โดยทุก ๆ ปี มีผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้าประมาณ 60,000 รายทั่วโลก (Fooks, et al, 2017) โรคหิษสุนัขบ้าเกิดจากการติดเชื้อไวรัส โดยเชื้อจากน้ำลายสัตว์จะข้าสรงกายมนุษย์ผ่านการกัดหรือข่วน จากนั้นจะเคลื่อนที่จากบริเวณแผลสู่เนื้อเยื่อข้างเคียง เข้าสู่เส้นประสาทและไปยังสมองในที่สุด (Fooks, et ol, 20 17; Ugolini and Hemachudha,2018) เชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนในสมองและก่อให้เกิดการอักเสบ โดยผู้ปวยจะมีอาการกลัวน้ำ น้ำลายไหลมากกว่าปกติ ขากรรไกด้าง ชัก เป็นตัน (Mahadevan, et al, 2016; Fooks et dl, 2017) เมื่อผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้าแสดงอาการทางสมองแล้ว จะไม่สามารถรักษได้ และจะเสียชีวิตในเวลาอันสั้น (Mahadevan, et al, 2016)
การพัฒนาแนวทางการรักษาโรคพิษสุนัขบ้นั้น จำเป็นต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับกลไกการก่อโรคของเชื้อไวรัสโรคพิษสุบ้าอย่างลึกซึ้งเสียก่อน โดยในปัจจุบัน มีการนำเทคโนโลยีโอมิกส์มาใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเทคโนลยืโอมิสเป็นเทคโนโลยีที่มีประโยชน์ ผลิตข้อมูลจำนวนมาก และเหมาะกับการศึกษากลไกการเกิดโรคต่าง ๆ การรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาดังล่าวจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกการก่อโรคของเชื้ไรรัสพิสุนับได้ดียิ่งขึ้นดังนั้น จุดประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมนี้ คือเพื่อสรุปข้อมูลการวิจัยที่ใช้เทคโนโลยีโอมิกส์ในระดับต่าง ๆ ในการระบุการก่อโรคพิษสุนับ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่กำลังศึกษาเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าในแง่มุมต่าง ๆ อย่างมาก

2020-06-29T13:04:14+07:00