Cancer 2020-03-12T11:09:10+07:00

Cancer

ชื่อ-สกุล โครงการวิจัยที่ดำเนินการ ระยะเวลา
ดร.จุฑาพร สังวาลย์เล็ก การค้นหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักในฝุ่นเซลล์จากตัวอย่างของเหลวในร่างกาย เพื่อการวินิจฉัยและทำนายการเกิดมะเร็ง 2 ปี

Abstract

มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (Colorectal cancer, CRC) เป็นมะร็งที่มีอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตมากเป็นอันดับสามจากรายงานสถิติมะเร็งโลก (GLOBOCAN) ในปี ค.ศ. 2018 (1 สำหรับในประเทศไทย มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักเป็นมะเร็งที่มีอุบัติการณ์เป็นอันดับสามในเพศชายและอันดับสี่ในเพศหญิงจากข้อมูลในรายงานทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ 2559 โดยสถาบันมะร็งแห่งชาติ (National Cancer institute: NC) โดยทั่วไปมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักจะใช้เวลาในการพัฒนาจนกว่าอาการจะปรากฎขึ้น ดังนั้นมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักส่วนใหญ่จะได้รับการวินิจฉัยเมื่อเข้าระยะลุกลามแล้ว โดยการตรวจพบในระยะที่มะเร็งมีการลุกลามแล้วนั้นจะจำกัดตัวเลือกในวิธีการักษาและมีอิทธิพลอย่างมากกับผลลัพธ์การรักษา โดยมีแนวโน้มทำให้โอกาสในการรอดชีวิตของผู้ป่วยมีน้อยลง อัตราการรอดชีวิต 5ปีของผู้ป่วยมะร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักลดลงจาก 90% หากตรวจพบใน ระยะเริ่มตัน เป็น 70% หากตรวจพบในระยะแพร่กระจายไปยังเนื้อเยื่อข้างเคียง และลดลงไปเป็น 10% หากตรวจพบ ในระยะลุกลามไปยังบริเวณอื่นๆ ในร่างกายแล้ว (2 ดังนั้นการนหาตัวบ่งชี้ทางชีภาพชนิดใหม่ที่มีศักยภาพในการวินิจฉัยและการพยากรณ์มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักตั้งในระยะที่ยังไม่แสดงอาการจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งหากมะเร็งได้รับการวินิฉัยเร็วขึ้น ผู้ป่วยจะมีโอกาสรอดชีวิตได้สูงขึ้น

ชื่อ-สกุล โครงการวิจัยที่ดำเนินการ ระยะเวลา
ดร.อัญมณี ชัยประสงค์สุข ฤทธิ์ของสาร calcitriol ในการป้องกันการอักเสบและการตายของเซลล์ปอดเพาะเลี้ยงที่ถูกกระตุ้นโดยฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ผ่านกลไกการทำงานของ VDR/FoxO 2 ปี

Abstract

Lung cancer has been observed in the top-five cancer in Thailand for both male and female as reported in the global cancer observatory, World Health Organization (WHO) in 2018 (Figure 6) (15, 16). The statistical analysis of WHO was reported new cases in 2018 (both sexes and all ages) of lung cancer for 14.1% as compared to the number of last year. In addition, lung and liver cancers are expected to increase for 71% of cases in 2025 Lung cancer incidence was significantly increased in some population, despite low smoking rates in different regions (15). Not only environment but also lifestyle risk factors that differ by region may contribute to region-specific cancer incidence profiles. Vitamin D deficiency and insufficiency became to be the dangerous sign in Thailand, due to the lifestyle and environmental factors in the country. This status can measure through the circulating levels of vitamin D. The recommendation of vitamin D sufficient is above 30 ng/mL (75 nmol/L) as this level is considered to provide the optimal metabolic function (Table 2). About 45-77% of Thai population were observed to have a low vitamin D level (<30 ng/ml) compared to the standard normal value (30 ng/ml upwards) (Table 3) (17-19). In addition, a low vitamin D status (>30 ng/mL) has been observed in Thai people in almost all researches (17, 20-22), suggesting the concern of the vitamin D deficiency in Thailand. Vitamin D has been reported to activate VDR through a variety of target organs including lung (Figure 10). Research on the actions of calcitriol and their possible therapeutic applications has been tested (Figure 11), however, the effect of calcitriol in lung has not been elucidated. Thus, attempts have been made to explore the mechanisms of vitamin D on regulation of the inflammatory response responsible for carcinogenesis (24, 25). Understanding pharmacological actions of vitamin D would give insights into promising novel approach for chemoprevention of lung cancer and promote lifestyle that improves dietary intake of vitamin D in Thai people. Since calcitriol targeted to VDR has shown the chemopreventive and chemotherapeutic potentials, we aim to investigate the protective effects of calcitriol in PM2.5-mediated the inflammatory response and apoptosis in normal human bronchial epithelium cells as well as its anti-cancer effects on human NSCLC cells through the VDR/RXR/FoxO signaling. This study would give an insight into the chemopreventive role of vitamin D in lung cancer in order to support health benefit of active vitamin D and promote its intake for reducing risks of lung cancer development in Thai people.

ชื่อ-สกุล โครงการวิจัยที่ดำเนินการ ระยะเวลา
นายแพทย์ธนพล ชอบเป็นไทย การศึกษาเปรียบเทียบผลการผ่าตัดรักษาเนื้องอกกระดูกชนิด Giant cell tumor บริเวณข้อมือด้วยการผ่าตัดย้ายกระดูกอาวน่าด้วยการทบทวนอย่างเป็นระบบและใช้วิธีการคำนวณข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ 6 เดือน

Abstract

โรคเนี้องอกกระดูก Giant cell tumor จัดอยู่ในกลุ่มของ benign aggressive bone tumor ที่สามารถกระจายไปปอดได้ประมาณ4% ส่วนมากจะพบในผู้ป่วยที่ epiphyseal plate ปิดแล้ว คือ ช่วงอายุ 20-40 ปีตำแหน่งที่พบบ่อยคือ distal femur. Proximal tibia radius and sacrum ทั้งนี้ Giant cell tumor สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะตาม Annexing ดังนี้ ระยะที่ 1 osteolytic มีขอบเขตที่ชัดเจน ระยะที่2 เริ่มมี cortical erosion กระดูกมีการขยายตัวกว้างออก และระยะที่3 พบมี breakthrough ที่กระดูกส่วน cortex และมี soft tissue ออกมาจากส่วน cortex
ปัญหาที่พบได้บ่อยในการรักษาคนไข้ที่เป็นเนื้องอกกระดูกชนิด Giant cell tumor นั้นคือการที่ฝาตัดรักษาไปแล้วกลับเป็นซ้ำได้ใหม่ประมาณ 7-20% ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเกิดขึ้นใน 2 ปีแรกหลังการผ่าตัดโดยเฉพาะถ้าหากเป็นระยะที่ 3 หรือเนื้องอกกระดูกเกิดบริเวณ distal radius ดังนั้นการผ่าตัดรักษาในครั้งแรกจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก ที่จะต้องทำการผ่าตัดเอาเซลล์เนื้องอกออกให้หมด นอกจากยังพบว่าการกลับเป็นซ้ำนั้นเกิดขึ้นบริเวณ soft tissueได้อีกด้วย ดังนั้นการตัดสินใจว่าจะทำการผ่าตัดแบบใดในระยะของเนื้องอกนั้นจำเป็นจะต้องพิจารณาให้ดีเสียก่อนโดยเฉพาะที่ข้อมือ (distal radius) เพราะมีผลอย่างมากในชีวิตประจำวันของผู้ป่วย